ประวัติ : นักวิจัย

Picture_Assoc. Prof. Dr. Sunee Nitisinprasert_TSB 2016

ชื่อ-สกุล :รศ.ดร.สุนีย์ นิธิสินประเสริฐ


ปัจจุบัน :

  • ที่ปรึกษาด้านการวิเคราะห์ทางเคมีและจุลชีววิทยา บริษัทเอสแอนด์พิซินดิเคทจำกัด (มหาชน)
  • อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาค คณะอุสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สถานที่ทำงาน :

  • บริษัทเอสแอนด์พิซินดิเคทจำกัด (มหาชน) และคณะอุสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประวัติการศึกษา :

  • 2522 ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2526 ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 2533 Doctor of Agriculture and Forestry (Microbiology & Genetic Engineering) University of Helsinki, Finland

ประวัติการทำงาน :

  • พ.ศ. 2533 – ปัจจุบัน ที่ปรึกษาด้านการวิเคราะห์ทางเคมีและจุลชีววิทยา บริษัทเอสแอนด์พิซินดิเคทจำกัด (มหาชน)
  • พ.ศ. 2534 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีวีวภาค คณะอุสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับเชิญในฐานะอาจารย์ผู้สอนและนักวิจัย จากหน่วยงานต่างๆทั้งในและต่างประเทศ ได้แก่ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยรังสิต Kyushu University, Japan; Research and Development Centre, Valio Ltd., Finland; Department of Applied Chemistry and microbiology, U. of Helsinki, Finland; National Institute of Animal Industry, Japan; Swedish University, Swedish University, Sweden; The ASEN-European International Program – Master of Science in Food Science and Technology (AEIP), The Philippines; CIRAD, France; Royal Institute of Technology, Sweden; BOKU University, Austria; Prefecture University of Kumamoto, Japan; ENTA – Bordeaux, France
  • อดีตรองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • อดีตหัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ  คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สาขางานวิจัยที่มีความถนัดและมีความสนใจ (Research Area) :

  • Antimicrobial Substance from Lactic acid bacteria, probiotics
  • Micro biota of animal and human
  • Enzymatic system of hydrolytic enzymes and their products, functionality analysis, prebiotics

รางวัล/เกียรติยศที่เคยได้รับ :

  • รางวัลผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2551 ประเภทบุคคล-ผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ กลุ่ม 1 จำนวน 2 ผลงาน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) (22 กรกฎาคม 2009)
  • รางวัลประเภทบุคคล-นักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2557 (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)  (15 มกราคม 2016)3)
  • รางวัล “อายิโนะโมะโต๊ะ อวอร์ด”  ให้แก่ ผู้สมควรให้ปาฐกถาอายิโนะโมะโต๊ะ ประจำปี พ.ศ.2559 (มูลนิธิอายิโนะโมะโต๊ะ) (28 พฤศจิกายน 2016)